บทความ

Not Much People Come to Market On The 2nd Day Of Chinese New Year -Marke...#html

รูปภาพ

Im Going To Set Betty On Fire#html

รูปภาพ

This one's for YOU! 🤩#html

รูปภาพ

XXL Mais Dreschen 2021 | John Deere X9 VS. Claas Lexion 8800 TT | John D...#html

รูปภาพ

จับปลาธรรมชาติ/กินข้าวป่า/กับพี่น้องไตยลื้อ[ອາຄານ້ອຍ]#html

รูปภาพ

ເລາະດົງຫາຂອງປ່າ//เลาะดงหาของป่าหา ดอกคอนแคน#html

รูปภาพ

กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่#html

รูปภาพ
  กลุ่มชาติพันธุ์ลาหู่ ชื่อเรียกตนเอง : ลาหู่ , ลาฮู , ลาหู่นะ , ลาหู่นาเมี้ยว , ลาหู่ซิมี ชื่อที่ผู้อื่นเรียก : มูเซอ , โลไฮ , ลาหู่ , ลาหู่แดง , ลาหู่ดำ , ลาหู่เซเล ภาษาที่ใช้พูดและเขียน : ภาษาลาหู่อยู่ในกลุ่มภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ( Sino-Tibetan) สาขาทิเบต-พม่า กลุ่มภาษาโลโลดั้งเดิม ( Proto-Lolo) และแตกสาขาย่อยลงมาในกลุ่มพม่า-โลโล สาขาโลโลกลาง ( Central Lolo) ซึ่งอยู่ในกลุ่มเดียวกับภาษาลีซู และภาษาอาข่า มิติทางประวัติศาสตร์ที่มีผลต่อการเรียกชื่อกลุ่มชาติพันธุ์ : ลาหู่ ไม่มีความใดอื่นใด นอกจาก หมายถึง คนลาหู่เอง คำว่า ลาหู่จึงหมายถึงทั้งคน ภาษา และวัฒนธรรม นักภาษาศาสตร์จัดให้พวกเขาเป็นกลุ่มคนที่พูดภาษาในกลุ่มภาษาตระกูลจีน-ทิเบต ( Sino-Tibetan) สาขาทิเบต-พม่า และแตกสาขาย่อยลงมาในกลุ่มพม่า-โลโล สาขาโลโลกลาง ( Bradley, 1979: 1) 1) ลาหู่หงี ( Lahu Nyi) หรือเรียกกันในภาษาไทย ลาหู่แดง ( Red Lahu) ( อริยา เศวตามร์ , 2559) คำว่าหงีในภาษาลาหู่ แปลว่า แดง ซึ่งสันนิฐานว่าน่าหมายถึงแถบผ้าสีแดงที่ติดอยู่ที่เสื้อของผู้หญิงลาหู่   2) ลาหู่นา/ลาหู่นะ ( Lahu Na) เป็นกลุ่มที่คนไทยเรียกว่า ล